– สังเกตพาดหัว : ข่าวปลอมส่วนใหญ่ มักใช้พาดหัวที่เรียกร้องความสนใจ ทำให้ตื่นตระหนก เกินความเป็นจริง
– สังเกต URL : เว็บไซต์ปลอม มักเปลี่ยน URL เพียงเล็กน้อยเพื่อเลียนแบบให้เข้าใจผิดว่าเป็นเว็บไซต์จริง
– สังเกตแหล่งที่มา : หากเป็นข่าวที่มาจากองค์กรแปลก ๆ ให้ตรวจสอบข่าวสารจากแหล่งอื่นเพิ่มเติม
– เนื้อหาไม่ปกติ : มักสะกดผิด ใช้ภาษาแปลก ๆ หรือวางเลย์เอาต์ไม่ปกติ
– พิจารณารูปภาพ : ใช้รูปหรือคลิปที่ไม่เกี่ยวกับเรื่องที่ลง หรือใช้คลิปจากเหตุการณ์อื่นมาอ้างว่าเป็นเรื่องเดียวกัน
– ตรวจสอบวันที่ : ลำดับเหตุการณ์ไม่สมเหตุผล หรือเปลี่ยนวันที่ของเหตุการณ์
– ตรวจสอบหลักฐาน : ข่าวที่ไม่มีการยืนยันความถูกต้อง หรือใช้ใครไม่รู้ที่ไม่น่าเชื่อถือมายืนยัน ควรตรวจสอบข้อมูลจากแหล่งที่น่าเชื่อถืออีกครั้ง
– ดูรายงานจากที่อื่น : ถ้าไม่มีรายงานข่าวจากแหล่งที่น่าเชื่อถือเลย ให้สงสัยว่าเป็นข่าวปลอม
– เป็นเรื่องตลกหรือไม่ : ดูพฤติกรรมของผู้โพสต์ เพราะบางครั้งอาจเป็นเพียงเรื่องตลกล้อเลียน เสียดสี หรือกลั่นแกล้งกัน
– ดูความจงใจ : ถ้าดูแล้วคิดว่าตั้งใจปลอม ไม่น่าเชื่อถือ ไม่ควรแชร์เด็ดขาด
จำนวนผู้เข้าชม
30,555,768
สังเกตให้ดี ก่อนเชื่อ ไม่ตกเป็นเหยื่อ “ข่าวปลอม”
หน่วยงานที่ตรวจสอบ

ข่าวอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ข่าวล่าสุด
ดื่มเหล้า ไม่แปรงฟัน ทำให้ฟันผุ จนเกิดการติดเชื้อฝีหนองที่รากฟันและปอด
ข่าวจริง
ผลิตภัณฑ์สุขภาพ
5 มิถุนายน 2568 | 16:00 น.
31 พ.ค. 68 เวลา 03:57 น. เกิดแผ่นดินไหว ขนาด 1.6 ลึก 2 กม. 2 ครั้ง บริเวณ ต.สบเปิง อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่
ข่าวบิดเบือน
ภัยพิบัติ
4 มิถุนายน 2568 | 16:00 น.
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เปิดบัญชีไลน์ให้ติดต่อพนักงานได้โดยตรง
ข่าวปลอม
นโยบายรัฐบาล-ข่าวสาร
4 มิถุนายน 2568 | 15:00 น.
นักท่องเที่ยวไต้หวันถูกขายต่อให้แก๊งคอลเซ็นเตอร์ในพม่า
ข่าวบิดเบือน
ความสงบและความมั่นคง
4 มิถุนายน 2568 | 13:51 น.